· สื่อกลางประเภทมีสาย มีข้อดีข้อเสียอย่างไรบ้าง จงเปรียบเทียบ
สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair Cable)
ข้อดี
· ราคาถูก
· มีน้ำหนักเบา
· ง่ายต่อการใช้งาน
ข้อเสีย
· มีความเร็วจำกัด
· ใช้กับระยะทางสั้นๆ
สายโคแอกเชียล (Coaxial)
ข้อดี
· เชื่อมต่อได้ในระยะไกล
· ป้องกันสัญญาณรบกวนได้ดี
ข้อเสีย
· มีราคาแพง
· สายมีขนาดใหญ่
· ติดตั้งยาก
สายใยแก้วนำแสง(Optic Fiber)
ข้อดี
· มีขนาดเล็กน้ำหนักเบา
· มีความปลอดภัยในการส่งข้อมูล
· มีความทนทานและมีอายุการใช้งานยาวนาน
ข้อเสีย
· เส้นใยแก้วมีความเปราะบาง แตกหักง่าย
· มีราคาสูง เมื่อเทียบกับสายเคเบิลทั่วไป
· การติดตั้งจำเป็นต้องพึ่งพาผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ
· สื่อกลางประเภทไม่มีสาย มีข้อดีข้อเสียอย่างไรบ้าง จงเปรียบเทียบ
ข้อดี-ข้อเสีย ของการสื่อสารด้วยดาวเทียม
ข้อดี
การส่งข้อมูลหรือการส่งสัญญาณแบบดาวเทียมจะสามารถรับ-ส่ง ข้อมูลได้เร็ว สะดวกต่อการติดต่อสื่อสาร และสามารถส่งข้อมูลได้ในระยะทางที่ไกล
ข้อเสีย
การส่งสัญญาณข้อมูลทางดาวเทียมก็คือระบบดาวเทียมนั้น คล้ายกับไมโครเวฟ คือ อาจจะ ถูกกระทบโดยสภาพอากาศ ดังนั้น มีการล่าช้าของสัญญาณในการส่งข้อมูลแต่ละช่วง ดังนั้นการเชื่อมโยงข้อมูล จัดการกับปัญหาความล่าช้า สัญญาณข้อมูลสามารถถูกรบกวนจากสัญญาณ ภาคพื้นอื่น ๆ ได้ อีก ในการส่งสัญญาณเนื่องจากระยะทางขึ้น-ลง ของสัญญาณ และที่สำคัญคือ มีราคาสูงในการลงทุนทำให้ค่าบริการสูงตามขึ้นมา
ข้อดี
การส่งข้อมูลหรือการส่งสัญญาณแบบดาวเทียมจะสามารถรับ-ส่ง ข้อมูลได้เร็ว สะดวกต่อการติดต่อสื่อสาร และสามารถส่งข้อมูลได้ในระยะทางที่ไกล
ข้อเสีย
การส่งสัญญาณข้อมูลทางดาวเทียมก็คือระบบดาวเทียมนั้น คล้ายกับไมโครเวฟ คือ อาจจะ ถูกกระทบโดยสภาพอากาศ ดังนั้น มีการล่าช้าของสัญญาณในการส่งข้อมูลแต่ละช่วง ดังนั้นการเชื่อมโยงข้อมูล จัดการกับปัญหาความล่าช้า สัญญาณข้อมูลสามารถถูกรบกวนจากสัญญาณ ภาคพื้นอื่น ๆ ได้ อีก ในการส่งสัญญาณเนื่องจากระยะทางขึ้น-ลง ของสัญญาณ และที่สำคัญคือ มีราคาสูงในการลงทุนทำให้ค่าบริการสูงตามขึ้นมา
ข้อดี-ข้อเสียของระบบไมโครเวฟ (Microwave System)
ข้อดี
ข้อดี
สัญญาณคลื่นความถี่ประมาณ 100 เมกะเฮิรตซ์ เดินทางเป็นเส้นตรง ทำให้สามารถปรับทิศทางการส่งได้แน่นอน การบีบสัญญาณส่งให้เป็นลำแคบ ๆ จะทำให้มีพลังงานสูง สัญญาณรบกวนต่ำ การปรับจานรับและจานส่งสัญญาณให้ตรงกันพอดี จะทำให้สามารถส่งสัญญาณได้หลายความถี่ไปในทิศทางเดียวกันได้ โดยไม่รบกวนกัน
ข้อเสีย
ข้อเสีย
คลื่นไมโครเวฟไม่สามารถเดินผ่านวัตถุที่กีดขวางได้ สัญญาณอาจเกิดการหักเหในระหว่างเดินทางทำให้มาถึงจาน
รับสัญญาณช้ากว่าปกติและสัญญาณบางส่วนอาจสูญหายได้ เรียกว่าเกิด “multipath fading”
รับสัญญาณช้ากว่าปกติและสัญญาณบางส่วนอาจสูญหายได้ เรียกว่าเกิด “multipath fading”
ข้อดี-ข้อเสียของคลื่นวิทยุ
ข้อดี :
ติดตั้งเพื่อเชื่อมโยงการติดต่อได้สะดวก เพียงต่ออุปกรณ์เครื่องรับ-ส่งวิทยุกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ แล้วตรวจสอบความเรียบร้อยของระบบก็สามารถจะสื่อสารข้อมูลทั้งภายในและภายนอกอาคารได้ เนื่องจากในการสื่อสารด้วยระบบวิทยุจะมีระบบความพร้อมก่อนทำการรับส่งข้อมูล จึงไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องสัญญาณรบกวน
ข้อเสีย :
ข้อเสีย :
มีอัตราเร็วในการส่งข้อมูลต่ำ นอกจากนี้ยังต้องทำการขออนุญาตใช้ความถี่วิทยุกับกรมไปรษณีย์โทรเลขเสียก่อน สำหรับค่าใช้จ่ายในเรื่องของอุปกรณ์สื่อสารนั้นค่อนข้างจะมีราคาแพงกว่าการสื่อสารด้วยสายสัญญาณ
· PAN และ SAN คืออะไร จงอธิบาย
PAN (Personal Area Network) คือ "ระบบการติดต่อสื่อสารไร้สายส่วนบุคคล" ย่อมาจาก Personal Area Network หรือเรียกว่า BluetoothPersonal Area Network (PAN)คือเทคโนโลยีการเข้าถึงไร้สายในพื้นที่เฉพาะส่วนบุคคล โดยมีระยะทางไม่เกิน 1เมตร และมีอัตราการรับส่งข้อมูลความเร็วสูงมาก (สูงถึง 480 Mbps) ซึ่งเทคโนโลยีที่ใช้กันแพร หลาย ก็เช่น• Ultra Wide Band (UWB) ตามมาตรฐาน IEEE 802.15.3a• Bluetooth ตามมาตรฐาน IEEE 802.15.1• Zigbee ตามมาตรฐาน IEEE 802.15.4เทคโนโลยีเหล่านี้ใช้สำหรับการติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง(peripherals) ให้สามารถรับส่งข้อมูลถึงกันได้ และยังใช้สำหรับการรับส่งสัญญาณวิดีโอที่มีความละเอียดภาพสูง (high-definition video signal) ได้ด้วยPersonal Area Network (PAN)ช่วยให้เราสามารถจัดการข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ต่างๆที่เคลื่อนที่ไปมาได้อย่างหลากหลาย
SAN = (Storage Area Network) เป็นเทคโนโลยีเพื่อช่วยเข้าถึงข้อมูลในอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลจากเซิร์ฟเวอร์ เพื่อเข้ามาแทนที่การเชื่อมต่ออุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลโดยตรงอย่าง Direct Attached Storage (DAS) ซึ่งมีข้อจำกัดอยู่หลายอย่าง เช่น ความเร็วในการเข้าถึงข้อมูล ความถูกต้องของข้อมูล หรือ พื้นที่จัดเก็บ ให้เกิดความยืดหยุ่นในการเข้าถึงอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลมากกว่า โดยมีพื้นฐานมาจากมาตรฐานเปิดเน็ตเวิร์กโปรโตคอล
ปัจจุบันการต่อเชื่อมของ SAN จะมี 2 รูปแบบ หรือ 2 Protocol คือ Fibre Channel Protocol และ iSCSI
- FC จะเป็นการต่อเชื่อมโดยใช้สายไฟเบอร์ในการเชื่อมต่อและจะต้องมี SAN Switch โดยมีความเร็วในการรับส่งข้อมูลที่ 4Gbps และ 8Gbps รวมถึงต้องมี interface card ที่เรียกว่า Host Bus Adapter (HBA)
- iSCSI จะเชื่อมต่อโดยใช้สาย LAN (RJ45) สามารถใช้ Network Switch เดิมที่มีอยู่ได้เลย ความเร็วขึ้นอยู่กับ network ที่ใช้ว่าเป็น 1Gbps หรือ 10Gbps โดยสามารถใช้ LAN Card เดิมที่มีอยู่ก็สามารถใช้งานได้ โดยจะต้องลง software iSCSI initiator (จะใช้ความสามารถของ CPU และ memory ของ server ในการประมวลผล)
- FC จะเป็นการต่อเชื่อมโดยใช้สายไฟเบอร์ในการเชื่อมต่อและจะต้องมี SAN Switch โดยมีความเร็วในการรับส่งข้อมูลที่ 4Gbps และ 8Gbps รวมถึงต้องมี interface card ที่เรียกว่า Host Bus Adapter (HBA)
- iSCSI จะเชื่อมต่อโดยใช้สาย LAN (RJ45) สามารถใช้ Network Switch เดิมที่มีอยู่ได้เลย ความเร็วขึ้นอยู่กับ network ที่ใช้ว่าเป็น 1Gbps หรือ 10Gbps โดยสามารถใช้ LAN Card เดิมที่มีอยู่ก็สามารถใช้งานได้ โดยจะต้องลง software iSCSI initiator (จะใช้ความสามารถของ CPU และ memory ของ server ในการประมวลผล)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น